[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

 

  


ชื่อ กศน.ตำบลกุฎโง้ง

          สังกัด : ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ      

 

            ที่อยู่ กศน.ตำบล  ที่ทำการเทศบาลตำบลกุฎโง้ง ม.5  ตำบลกุฎโง้ง  อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

ประวัติความเป็นมาตำบลกุฎโง้ง

       ตำบลกุฎโง้ง    ชื่อตำบลกุฎโง้งเดิมเป็นชื่อหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตรงทางโค้งของลำน้ำและมีน้ำขังอยู่บริเวณขว้างเดิมทีเดียวย่านนี้เป็นชุมชนชาวลาวอีกกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาพร้อมกับเจ้าเมือง  จึงเรียกแหล่งน้ำนี้ ตามภาษาถิ่นของตนเองว่า “กุดโง้ง” หมายถึง แหล่งน้ำขังตามทางโค้ง แต่คำนี้ เป็นความหมาย  ไม่เป็นมงคลนักในสมัย ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 7   ประเทศมีความเจริญขึ้นภาษาลาวหรือไทยอีสาน ถูกกลืนด้วยภาษาไทยกลางที่มีความหมายดีกว่า  หมู่บ้านนี้จึงเขียนขึ้นใหม่เป็น  “กุฎโง้ง” หมายถึง   กุฏิตั้งอยู่ทางโค้ง เพราะมีวัดตั้งอยู่ริมน้ำตรงทางโค้งนั้นด้วย ปัจจุบัน “กุฎโง้ง” จึงเป็นทั้งชื่อหมู่บ้านชื่อวัด และชื่อตำบลอีกด้วย โดยตำบลกุฎโง้งมีพื้นที่ปกครองแบ่งจำนวนได้ 6 หมู่บ้าน

 

ความเป็นมาของ กศน.ตำบลกุฎโง้ง

                จากการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 2561) รัฐบาลได้ให้ความสำคัญเรื่อง

การศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตทั้งในการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพในทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษา ให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะได้ดำเนินการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมในทุกพื้นที่เติมเต็มระบบการศึกษาให้รองรับการเป็น    สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง กระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์) ในขณะนั้นได้ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลยุคใหม่

2

 
ที่มีเครื่องมือที่ทันสมัยในการดำเนินงานโดยการผลักดันงบประมาณโครงการไทยเข้มแข็งแก่ กศน.ตำบล และได้มอบให้สำนักงาน กศน.เร่งรัดพัฒนาและเดินหน้าไปสู่ความเป็นศูนย์การเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชน เพื่อให้ประชาชนทั่วประเทศได้มีพลังแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตไม่มีที่สิ้นสุดตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างแท้จริง โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าในเดือนกันยายน 2553 จะมี กศน.ตำบลครบทั้ง 7,409 ตำบลทั่วประเทศ และได้ทำพิธีเปิดตัว กศน.ตำบลเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2552 ณ อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี

2

 
          กศน.ตำบลกุฎโง้ง :แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ตั้งอยู่ที่ อาคารห้องประชุมสภาอบต.กุฎโง้งเก่าที่ทำการอบต.กุฎโง้ง หมู่ที่ 5 ต.กุฎโง้ง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ตามประกาศจังหวัดชลบุรี เรื่อง จัดตั้ง กศน.ตำบล:แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ในพื้นที่ อำเภอพนัสนิคม  ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ กศน.ตำบล: แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม  จังหวัดชลบุรี ตามคำสั่งสำนักงานกศน.จังหวัดชลบุรีที่ 172 / 2553 โดยให้คณะกรรมการ กศน.ตำบล : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลมีหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยแหล่งเรียนรู้ราคาถูก : กศน.ตำบลหรือแขวง พ.ศ.2553ข้อ9 และข้อ 10 ได้แก่ วางแผนการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์งาน จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์พื้นฐาน บริหารและจัดกิจกรรม กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประสานงานและเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับศูนย์การเรียนชุมชนอื่นๆ ในตำบลประสานกับส่วนราชการในตำบล ประสานกับส่วนราชการในตำบลและเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชนประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เพื่อนำแผนชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

 

 

 
ข้อมูลพื้นฐานตำบลกุฎโง้ง

สภาพทั่วไปตำบลกุฎโง้ง

ที่ตั้ง

ตำบลกุฎโง้ง อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอพนัสนิคม ห่างจากตัวอำเภอ 1.5 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดชลบุรี 22  กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

          ทิศเหนือ          ติดต่อกับ         ตำบลหน้าพระธาตุ

              ทิศใต้             ติดต่อกับ         ตำบลนามะตูม

              ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ         เทศบาลเมืองพนัสนิคม

              ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         ตำบลบ้านเซิด

เนื้อที่

          ขนาดเนื้อที่ของตำบลกุฎโง้ง  มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  3,175 ไร่ หรือ 5.08 ตร.กม.

 

3

 
ภูมิประเทศ

                ลักษณะภูมิประเทศของตำบลกุฎโง้ง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เป็นท้องนาเสียส่วนใหญ่ สภาพดินเหมาะแก่การเพาะปลูก พืชไร่ พืชหมุนเวียน และทำการปศุสัตว์

ประชากร

          ตำบลกุฎโง้ง มีจำนวน  6 หมู่บ้าน  จำนวนประชากรทั้งสิ้น  4,954  คน  เป็นชาย  2,362  คน  เป็นหญิง  2,592 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย  904  คน / ตารางกิโลเมตร

ประชากรสามารถแยกเป็นหมู่บ้านได้ดังนี้

 

ลำดับ

ชื่อหมู่บ้าน

ชาย (คน)

หญิง (คน)

รวม (คน)

หลังคาเรือน

หมายเหตุ

1
2
3
4
5
6

 บ้านช้าง
 บ้านโพธิ์ตาก
 บ้านเนินพลับ
 บ้านลิงงอย
 บ้านกุฎโง้ง
 บ้านนางู

685
316
170
140
256
795

510
302
432
256
492
600

1,195
618
602
396
748
1,395

567
175
144
56
234
658

-
-
-
-
-
-

รวม

2,362

2,592

4,954

1,834

 

สภาพเศรษฐกิจ

                ประชากรมีอาชีพรับจ้าง  รายได้เฉลี่ยประมาณ   30,000.-บาท / คน / ปี รองลงมาก็ทำการเกษตรกรรม   ทำนา ทำไร่ แหล่งสินเชื่อที่ประชาชนใช้ในการกู้ยืมมาลงทุนในการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ ได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน  สินเชื่อธนาคารพาณิชย์  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

             หน่วยธุรกิจในเขตตำบล

                ปั๊มน้ำมัน                                                 2              แห่ง

                โรงงานอุตสาหกรรม                           1             แห่ง

                โรงงานอาหารสัตว์                                  2              แห่ง

                ร้านค้า                                                     50           แห่ง

                ฟาร์มสุกร                                                2              แห่ง

           สภาพสังคม

   1.  การศึกษา

                    โรงเรียนประถมศึกษา                                       1              แห่ง

                    โรงเรียนมัธยมศึกษา                                         1              แห่ง

                    โรงเรียนอนุบาล (เอกชน)                          1              แห่ง

                    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำตำบล                       1              แห่ง

                    ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน               6              แห่ง

4

 
   2.  สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                    วัด / สำนักสงฆ์                                                  3              แห่ง

                    ศาลเจ้า                                                              1              แห่ง

 

   3.  การสาธารณสุข   

                   โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด  134 เตียง            1              แห่ง

                   สถานีอนามัยประจำตำบล                              -               แห่ง

                   สถานพยาบาลเอกชน                                         -               แห่ง

   4.  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

                   สถานีตำรวจ/ที่พักสายตรวจ                               1              แห่ง

           การบริการพื้นฐาน

                   1.  การคมนาคม ถนนภายในหมู่บ้าน               53            แห่ง

                   2. โทรศัพท์สาธารณะ                                         10            แห่ง

                   3.  ไฟฟ้าสาธารณะ                                             450          แห่ง

   สภาพปัญหาของชุมชน

    1. ประชาชนขาดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

     2. ประชาชนขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์  ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

3. ปัจจุบันได้เริ่มมีปัญหาระบาดของยาเสพติดให้โทษชนิดต่าง ๆมากขึ้น

          4. ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในการทำการเกษตรและเงินทุน

     5. ประชาชนในตำบลไม่ค่อยได้รวมกลุ่มกันอย่างชัดเจน

 

   สภาพความต้องการของชุมชน

        1. การยกระดับการศึกษาพื้นฐานประชาชนในตำบลให้คลอบคลุม

          2. การรวมกลุ่มในการพัฒนาอาชีพของประชาชนในตำบล

          3. การเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายของประชาชนในตำบล

          4. การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนในตำบล

 

                                                                         

 

 

 

 

 

 

 

 

5

 
ข้อมูลทางการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย กศน.

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย แยกตามอายุ

ช่วงอายุ

จำนวน กลุ่มเป้าหมาย

รวม

เด็กเร่ร่อน

ผู้พิการ

ผู้สูงอายุ

แรงงาน

นอกระบบ

แรงงาน

ในระบบ

 ต่ำกว่า 15 ปี

 

 

 

434

 

434

 15-59 ปี

 

20

 

1,475

2,060

3,555

 60 ปี ขึ้นไป

 

15

370

580

 

965

รวมทั้งสิ้น

 

35

370

2,489

2,060

4,954

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษาของตำบล

ระดับการศึกษา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

2

 

2. ก่อนประถมศึกษา (อ่านออกเขียนได้)

79

 

3. ประถมศึกษา

866

 

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

939

 

5. มัธยมศึกษาตอนปลาย

1,009

 

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

2,059

 

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้าน

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

-

1

-

-

-

1

2

2. ก่อนประถมศึกษา

28

-

1

3

13

34

79

3. ประถมศึกษา

179

190

106

70

96

225

866

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

260

100

83

81

146

269

939

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

178

110

193

111

197

220

1,009

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

550

217

219

131

296

646

2,059

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

 
จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

      

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

2    5

2     3

-      4

1     2

1     4

1     7

7         25

32

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

1      2

-     1

-        4

 

1    2

1     2

3         11

14

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

2    1

2     1

 

1     2

 

1     4

6

14

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

-     3

 

 

 

 

1     1

1       4

5

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มผู้สูงอายุ

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

      

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

10  20

24

18    9

22    9

13   10

17   18

80         90

170

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

18

8    5

9      7

12

13

15    8

63        32

95

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

12   -

2     7

1     4

5     3

-      7

20  9

40       30

70

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

7    6

 

3     6

1     -

 

6     6

17        18

35

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มคนพิการ

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

       

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

2

 

1

1    1

1

1     2

6           3

9

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

1

1

 

 

1

2     2

5         2

7

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

2

1

2      1

1

2

1      1

9         2

11

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

3

1

1

1

 

1    1

7          1    

8

 

ชื่อ กศน.ตำบลกุฎโง้ง

          สังกัด : ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ      

 

            ที่อยู่ กศน.ตำบล  ที่ทำการเทศบาลตำบลกุฎโง้ง ม.5  ตำบลกุฎโง้ง  อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

ประวัติความเป็นมาตำบลกุฎโง้ง

       ตำบลกุฎโง้ง    ชื่อตำบลกุฎโง้งเดิมเป็นชื่อหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตรงทางโค้งของลำน้ำและมีน้ำขังอยู่บริเวณขว้างเดิมทีเดียวย่านนี้เป็นชุมชนชาวลาวอีกกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาพร้อมกับเจ้าเมือง  จึงเรียกแหล่งน้ำนี้ ตามภาษาถิ่นของตนเองว่า “กุดโง้ง” หมายถึง แหล่งน้ำขังตามทางโค้ง แต่คำนี้ เป็นความหมาย  ไม่เป็นมงคลนักในสมัย ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 7   ประเทศมีความเจริญขึ้นภาษาลาวหรือไทยอีสาน ถูกกลืนด้วยภาษาไทยกลางที่มีความหมายดีกว่า  หมู่บ้านนี้จึงเขียนขึ้นใหม่เป็น  “กุฎโง้ง” หมายถึง   กุฏิตั้งอยู่ทางโค้ง เพราะมีวัดตั้งอยู่ริมน้ำตรงทางโค้งนั้นด้วย ปัจจุบัน “กุฎโง้ง” จึงเป็นทั้งชื่อหมู่บ้านชื่อวัด และชื่อตำบลอีกด้วย โดยตำบลกุฎโง้งมีพื้นที่ปกครองแบ่งจำนวนได้ 6 หมู่บ้าน

 

ความเป็นมาของ กศน.ตำบลกุฎโง้ง

                จากการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 2561) รัฐบาลได้ให้ความสำคัญเรื่อง

การศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตทั้งในการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพในทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษา ให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะได้ดำเนินการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมในทุกพื้นที่เติมเต็มระบบการศึกษาให้รองรับการเป็น    สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง กระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์) ในขณะนั้นได้ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลยุคใหม่

2

 
ที่มีเครื่องมือที่ทันสมัยในการดำเนินงานโดยการผลักดันงบประมาณโครงการไทยเข้มแข็งแก่ กศน.ตำบล และได้มอบให้สำนักงาน กศน.เร่งรัดพัฒนาและเดินหน้าไปสู่ความเป็นศูนย์การเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชน เพื่อให้ประชาชนทั่วประเทศได้มีพลังแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตไม่มีที่สิ้นสุดตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างแท้จริง โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าในเดือนกันยายน 2553 จะมี กศน.ตำบลครบทั้ง 7,409 ตำบลทั่วประเทศ และได้ทำพิธีเปิดตัว กศน.ตำบลเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2552 ณ อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี

2

 
          กศน.ตำบลกุฎโง้ง :แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ตั้งอยู่ที่ อาคารห้องประชุมสภาอบต.กุฎโง้งเก่าที่ทำการอบต.กุฎโง้ง หมู่ที่ 5 ต.กุฎโง้ง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ตามประกาศจังหวัดชลบุรี เรื่อง จัดตั้ง กศน.ตำบล:แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ในพื้นที่ อำเภอพนัสนิคม  ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ กศน.ตำบล: แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม  จังหวัดชลบุรี ตามคำสั่งสำนักงานกศน.จังหวัดชลบุรีที่ 172 / 2553 โดยให้คณะกรรมการ กศน.ตำบล : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลมีหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยแหล่งเรียนรู้ราคาถูก : กศน.ตำบลหรือแขวง พ.ศ.2553ข้อ9 และข้อ 10 ได้แก่ วางแผนการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์งาน จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์พื้นฐาน บริหารและจัดกิจกรรม กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประสานงานและเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับศูนย์การเรียนชุมชนอื่นๆ ในตำบลประสานกับส่วนราชการในตำบล ประสานกับส่วนราชการในตำบลและเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชนประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เพื่อนำแผนชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

 

 

 
ข้อมูลพื้นฐานตำบลกุฎโง้ง

สภาพทั่วไปตำบลกุฎโง้ง

ที่ตั้ง

ตำบลกุฎโง้ง อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอพนัสนิคม ห่างจากตัวอำเภอ 1.5 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดชลบุรี 22  กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

          ทิศเหนือ          ติดต่อกับ         ตำบลหน้าพระธาตุ

              ทิศใต้             ติดต่อกับ         ตำบลนามะตูม

              ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ         เทศบาลเมืองพนัสนิคม

              ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         ตำบลบ้านเซิด

เนื้อที่

          ขนาดเนื้อที่ของตำบลกุฎโง้ง  มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  3,175 ไร่ หรือ 5.08 ตร.กม.

 

3

 
ภูมิประเทศ

                ลักษณะภูมิประเทศของตำบลกุฎโง้ง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เป็นท้องนาเสียส่วนใหญ่ สภาพดินเหมาะแก่การเพาะปลูก พืชไร่ พืชหมุนเวียน และทำการปศุสัตว์

ประชากร

          ตำบลกุฎโง้ง มีจำนวน  6 หมู่บ้าน  จำนวนประชากรทั้งสิ้น  4,954  คน  เป็นชาย  2,362  คน  เป็นหญิง  2,592 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย  904  คน / ตารางกิโลเมตร

ประชากรสามารถแยกเป็นหมู่บ้านได้ดังนี้

 

ลำดับ

ชื่อหมู่บ้าน

ชาย (คน)

หญิง (คน)

รวม (คน)

หลังคาเรือน

หมายเหตุ

1
2
3
4
5
6

 บ้านช้าง
 บ้านโพธิ์ตาก
 บ้านเนินพลับ
 บ้านลิงงอย
 บ้านกุฎโง้ง
 บ้านนางู

685
316
170
140
256
795

510
302
432
256
492
600

1,195
618
602
396
748
1,395

567
175
144
56
234
658

-
-
-
-
-
-

รวม

2,362

2,592

4,954

1,834

 

สภาพเศรษฐกิจ

                ประชากรมีอาชีพรับจ้าง  รายได้เฉลี่ยประมาณ   30,000.-บาท / คน / ปี รองลงมาก็ทำการเกษตรกรรม   ทำนา ทำไร่ แหล่งสินเชื่อที่ประชาชนใช้ในการกู้ยืมมาลงทุนในการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ ได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน  สินเชื่อธนาคารพาณิชย์  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

             หน่วยธุรกิจในเขตตำบล

                ปั๊มน้ำมัน                                                 2              แห่ง

                โรงงานอุตสาหกรรม                           1             แห่ง

                โรงงานอาหารสัตว์                                  2              แห่ง

                ร้านค้า                                                     50           แห่ง

                ฟาร์มสุกร                                                2              แห่ง

           สภาพสังคม

   1.  การศึกษา

                    โรงเรียนประถมศึกษา                                       1              แห่ง

                    โรงเรียนมัธยมศึกษา                                         1              แห่ง

                    โรงเรียนอนุบาล (เอกชน)                          1              แห่ง

                    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำตำบล                       1              แห่ง

                    ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน               6              แห่ง

4

 
   2.  สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                    วัด / สำนักสงฆ์                                                  3              แห่ง

                    ศาลเจ้า                                                              1              แห่ง

 

   3.  การสาธารณสุข   

                   โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด  134 เตียง            1              แห่ง

                   สถานีอนามัยประจำตำบล                              -               แห่ง

                   สถานพยาบาลเอกชน                                         -               แห่ง

   4.  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

                   สถานีตำรวจ/ที่พักสายตรวจ                               1              แห่ง

           การบริการพื้นฐาน

                   1.  การคมนาคม ถนนภายในหมู่บ้าน               53            แห่ง

                   2. โทรศัพท์สาธารณะ                                         10            แห่ง

                   3.  ไฟฟ้าสาธารณะ                                             450          แห่ง

   สภาพปัญหาของชุมชน

    1. ประชาชนขาดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

     2. ประชาชนขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์  ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

3. ปัจจุบันได้เริ่มมีปัญหาระบาดของยาเสพติดให้โทษชนิดต่าง ๆมากขึ้น

          4. ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในการทำการเกษตรและเงินทุน

     5. ประชาชนในตำบลไม่ค่อยได้รวมกลุ่มกันอย่างชัดเจน

 

   สภาพความต้องการของชุมชน

        1. การยกระดับการศึกษาพื้นฐานประชาชนในตำบลให้คลอบคลุม

          2. การรวมกลุ่มในการพัฒนาอาชีพของประชาชนในตำบล

          3. การเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายของประชาชนในตำบล

          4. การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนในตำบล

 

                                                                         

 

 

 

 

 

 

 

 

5

 
ข้อมูลทางการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย กศน.

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย แยกตามอายุ

ช่วงอายุ

จำนวน กลุ่มเป้าหมาย

รวม

เด็กเร่ร่อน

ผู้พิการ

ผู้สูงอายุ

แรงงาน

นอกระบบ

แรงงาน

ในระบบ

 ต่ำกว่า 15 ปี

 

 

 

434

 

434

 15-59 ปี

 

20

 

1,475

2,060

3,555

 60 ปี ขึ้นไป

 

15

370

580

 

965

รวมทั้งสิ้น

 

35

370

2,489

2,060

4,954

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษาของตำบล

ระดับการศึกษา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

2

 

2. ก่อนประถมศึกษา (อ่านออกเขียนได้)

79

 

3. ประถมศึกษา

866

 

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

939

 

5. มัธยมศึกษาตอนปลาย

1,009

 

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

2,059

 

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้าน

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

-

1

-

-

-

1

2

2. ก่อนประถมศึกษา

28

-

1

3

13

34

79

3. ประถมศึกษา

179

190

106

70

96

225

866

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

260

100

83

81

146

269

939

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

178

110

193

111

197

220

1,009

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

550

217

219

131

296

646

2,059

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

 
จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

      

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

2    5

2     3

-      4

1     2

1     4

1     7

7         25

32

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

1      2

-     1

-        4

 

1    2

1     2

3         11

14

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

2    1

2     1

 

1     2

 

1     4

6

14

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

-     3

 

 

 

 

1     1

1       4

5

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มผู้สูงอายุ

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

      

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

10  20

24

18    9

22    9

13   10

17   18

80         90

170

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

18

8    5

9      7

12

13

15    8

63        32

95

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

12   -

2     7

1     4

5     3

-      7

20  9

40       30

70

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

7    6

 

3     6

1     -

 

6     6

17        18

35

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มคนพิการ

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

       

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

2

 

1

1    1

1

1     2

6           3

9

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

1

1

 

 

1

2     2

5         2

7

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

2

1

2      1

1

2

1      1

9         2

11

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

3

1

1

1

 

1    1

7          1    

8

 

ชื่อ กศน.ตำบลกุฎโง้ง

          สังกัด : ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ      

 

            ที่อยู่ กศน.ตำบล  ที่ทำการเทศบาลตำบลกุฎโง้ง ม.5  ตำบลกุฎโง้ง  อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

ประวัติความเป็นมาตำบลกุฎโง้ง

       ตำบลกุฎโง้ง    ชื่อตำบลกุฎโง้งเดิมเป็นชื่อหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตรงทางโค้งของลำน้ำและมีน้ำขังอยู่บริเวณขว้างเดิมทีเดียวย่านนี้เป็นชุมชนชาวลาวอีกกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาพร้อมกับเจ้าเมือง  จึงเรียกแหล่งน้ำนี้ ตามภาษาถิ่นของตนเองว่า “กุดโง้ง” หมายถึง แหล่งน้ำขังตามทางโค้ง แต่คำนี้ เป็นความหมาย  ไม่เป็นมงคลนักในสมัย ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 7   ประเทศมีความเจริญขึ้นภาษาลาวหรือไทยอีสาน ถูกกลืนด้วยภาษาไทยกลางที่มีความหมายดีกว่า  หมู่บ้านนี้จึงเขียนขึ้นใหม่เป็น  “กุฎโง้ง” หมายถึง   กุฏิตั้งอยู่ทางโค้ง เพราะมีวัดตั้งอยู่ริมน้ำตรงทางโค้งนั้นด้วย ปัจจุบัน “กุฎโง้ง” จึงเป็นทั้งชื่อหมู่บ้านชื่อวัด และชื่อตำบลอีกด้วย โดยตำบลกุฎโง้งมีพื้นที่ปกครองแบ่งจำนวนได้ 6 หมู่บ้าน

 

ความเป็นมาของ กศน.ตำบลกุฎโง้ง

                จากการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 2561) รัฐบาลได้ให้ความสำคัญเรื่อง

การศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตทั้งในการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพในทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษา ให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะได้ดำเนินการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมในทุกพื้นที่เติมเต็มระบบการศึกษาให้รองรับการเป็น    สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง กระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์) ในขณะนั้นได้ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลยุคใหม่

2

 
ที่มีเครื่องมือที่ทันสมัยในการดำเนินงานโดยการผลักดันงบประมาณโครงการไทยเข้มแข็งแก่ กศน.ตำบล และได้มอบให้สำนักงาน กศน.เร่งรัดพัฒนาและเดินหน้าไปสู่ความเป็นศูนย์การเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชน เพื่อให้ประชาชนทั่วประเทศได้มีพลังแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตไม่มีที่สิ้นสุดตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างแท้จริง โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าในเดือนกันยายน 2553 จะมี กศน.ตำบลครบทั้ง 7,409 ตำบลทั่วประเทศ และได้ทำพิธีเปิดตัว กศน.ตำบลเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2552 ณ อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี

2

 
          กศน.ตำบลกุฎโง้ง :แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ตั้งอยู่ที่ อาคารห้องประชุมสภาอบต.กุฎโง้งเก่าที่ทำการอบต.กุฎโง้ง หมู่ที่ 5 ต.กุฎโง้ง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ตามประกาศจังหวัดชลบุรี เรื่อง จัดตั้ง กศน.ตำบล:แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ในพื้นที่ อำเภอพนัสนิคม  ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ กศน.ตำบล: แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม  จังหวัดชลบุรี ตามคำสั่งสำนักงานกศน.จังหวัดชลบุรีที่ 172 / 2553 โดยให้คณะกรรมการ กศน.ตำบล : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประจำตำบลมีหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยแหล่งเรียนรู้ราคาถูก : กศน.ตำบลหรือแขวง พ.ศ.2553ข้อ9 และข้อ 10 ได้แก่ วางแผนการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์งาน จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์พื้นฐาน บริหารและจัดกิจกรรม กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประสานงานและเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับศูนย์การเรียนชุมชนอื่นๆ ในตำบลประสานกับส่วนราชการในตำบล ประสานกับส่วนราชการในตำบลและเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชนประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เพื่อนำแผนชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

 

 

 
ข้อมูลพื้นฐานตำบลกุฎโง้ง

สภาพทั่วไปตำบลกุฎโง้ง

ที่ตั้ง

ตำบลกุฎโง้ง อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอพนัสนิคม ห่างจากตัวอำเภอ 1.5 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดชลบุรี 22  กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

          ทิศเหนือ          ติดต่อกับ         ตำบลหน้าพระธาตุ

              ทิศใต้             ติดต่อกับ         ตำบลนามะตูม

              ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ         เทศบาลเมืองพนัสนิคม

              ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         ตำบลบ้านเซิด

เนื้อที่

          ขนาดเนื้อที่ของตำบลกุฎโง้ง  มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  3,175 ไร่ หรือ 5.08 ตร.กม.

 

3

 
ภูมิประเทศ

                ลักษณะภูมิประเทศของตำบลกุฎโง้ง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เป็นท้องนาเสียส่วนใหญ่ สภาพดินเหมาะแก่การเพาะปลูก พืชไร่ พืชหมุนเวียน และทำการปศุสัตว์

ประชากร

          ตำบลกุฎโง้ง มีจำนวน  6 หมู่บ้าน  จำนวนประชากรทั้งสิ้น  4,954  คน  เป็นชาย  2,362  คน  เป็นหญิง  2,592 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย  904  คน / ตารางกิโลเมตร

ประชากรสามารถแยกเป็นหมู่บ้านได้ดังนี้

 

ลำดับ

ชื่อหมู่บ้าน

ชาย (คน)

หญิง (คน)

รวม (คน)

หลังคาเรือน

หมายเหตุ

1
2
3
4
5
6

 บ้านช้าง
 บ้านโพธิ์ตาก
 บ้านเนินพลับ
 บ้านลิงงอย
 บ้านกุฎโง้ง
 บ้านนางู

685
316
170
140
256
795

510
302
432
256
492
600

1,195
618
602
396
748
1,395

567
175
144
56
234
658

-
-
-
-
-
-

รวม

2,362

2,592

4,954

1,834

 

สภาพเศรษฐกิจ

                ประชากรมีอาชีพรับจ้าง  รายได้เฉลี่ยประมาณ   30,000.-บาท / คน / ปี รองลงมาก็ทำการเกษตรกรรม   ทำนา ทำไร่ แหล่งสินเชื่อที่ประชาชนใช้ในการกู้ยืมมาลงทุนในการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ ได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน  สินเชื่อธนาคารพาณิชย์  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

             หน่วยธุรกิจในเขตตำบล

                ปั๊มน้ำมัน                                                 2              แห่ง

                โรงงานอุตสาหกรรม                           1             แห่ง

                โรงงานอาหารสัตว์                                  2              แห่ง

                ร้านค้า                                                     50           แห่ง

                ฟาร์มสุกร                                                2              แห่ง

           สภาพสังคม

   1.  การศึกษา

                    โรงเรียนประถมศึกษา                                       1              แห่ง

                    โรงเรียนมัธยมศึกษา                                         1              แห่ง

                    โรงเรียนอนุบาล (เอกชน)                          1              แห่ง

                    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำตำบล                       1              แห่ง

                    ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน               6              แห่ง

4

 
   2.  สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                    วัด / สำนักสงฆ์                                                  3              แห่ง

                    ศาลเจ้า                                                              1              แห่ง

 

   3.  การสาธารณสุข   

                   โรงพยาบาลของรัฐ ขนาด  134 เตียง            1              แห่ง

                   สถานีอนามัยประจำตำบล                              -               แห่ง

                   สถานพยาบาลเอกชน                                         -               แห่ง

   4.  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

                   สถานีตำรวจ/ที่พักสายตรวจ                               1              แห่ง

           การบริการพื้นฐาน

                   1.  การคมนาคม ถนนภายในหมู่บ้าน               53            แห่ง

                   2. โทรศัพท์สาธารณะ                                         10            แห่ง

                   3.  ไฟฟ้าสาธารณะ                                             450          แห่ง

   สภาพปัญหาของชุมชน

    1. ประชาชนขาดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

     2. ประชาชนขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์  ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

3. ปัจจุบันได้เริ่มมีปัญหาระบาดของยาเสพติดให้โทษชนิดต่าง ๆมากขึ้น

          4. ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในการทำการเกษตรและเงินทุน

     5. ประชาชนในตำบลไม่ค่อยได้รวมกลุ่มกันอย่างชัดเจน

 

   สภาพความต้องการของชุมชน

        1. การยกระดับการศึกษาพื้นฐานประชาชนในตำบลให้คลอบคลุม

          2. การรวมกลุ่มในการพัฒนาอาชีพของประชาชนในตำบล

          3. การเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายของประชาชนในตำบล

          4. การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนในตำบล

 

                                                                         

 

 

 

 

 

 

 

 

5

 
ข้อมูลทางการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย กศน.

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย แยกตามอายุ

ช่วงอายุ

จำนวน กลุ่มเป้าหมาย

รวม

เด็กเร่ร่อน

ผู้พิการ

ผู้สูงอายุ

แรงงาน

นอกระบบ

แรงงาน

ในระบบ

 ต่ำกว่า 15 ปี

 

 

 

434

 

434

 15-59 ปี

 

20

 

1,475

2,060

3,555

 60 ปี ขึ้นไป

 

15

370

580

 

965

รวมทั้งสิ้น

 

35

370

2,489

2,060

4,954

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษาของตำบล

ระดับการศึกษา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

2

 

2. ก่อนประถมศึกษา (อ่านออกเขียนได้)

79

 

3. ประถมศึกษา

866

 

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

939

 

5. มัธยมศึกษาตอนปลาย

1,009

 

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

2,059

 

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้าน

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

จำนวน

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

-

1

-

-

-

1

2

2. ก่อนประถมศึกษา

28

-

1

3

13

34

79

3. ประถมศึกษา

179

190

106

70

96

225

866

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

260

100

83

81

146

269

939

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

178

110

193

111

197

220

1,009

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

550

217

219

131

296

646

2,059

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

 
จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

      

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

2    5

2     3

-      4

1     2

1     4

1     7

7         25

32

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

1      2

-     1

-        4

 

1    2

1     2

3         11

14

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

2    1

2     1

 

1     2

 

1     4

6

14

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

-     3

 

 

 

 

1     1

1       4

5

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มผู้สูงอายุ

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

      

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

10  20

24

18    9

22    9

13   10

17   18

80         90

170

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

18

8    5

9      7

12

13

15    8

63        32

95

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

12   -

2     7

1     4

5     3

-      7

20  9

40       30

70

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

7    6

 

3     6

1     -

 

6     6

17        18

35

 

 

จำนวนข้อมูลทางการศึกษารายหมู่บ้านตำบลกุฎโง้งกลุ่มคนพิการ

ระดับการศึกษา

หมู่ที่

1

หมู่ที่

2

หมู่ที่

3

หมู่ที่

4

หมู่ที่

5

หมู่ที่

6

รวม

รวม

      

       

      

      

      

      

                 

1. ผู้ไม่รู้หนังสือ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ก่อนประถมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ประถมศึกษา

2

 

1

1    1

1

1     2

6           3

9

4. มัธยมศึกษาตอนต้น

1

1

 

 

1

2     2

5         2

7

5. มัธยมศึกษา

ตอนปลาย

2

1

2      1

1

2

1      1

9         2

11

6. สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย

3

1

1

1

 

1    1

7          1    

8

 





 
กศน.ตำบลกุฎโง้ง
หมู่ 5 ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 20140
โทรศัพท์ 085-0873686
e-mail:pong69691@hotmail.com
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   chonnfe   Version 2.03